ไต้หวัน: SE -นวัตกรรมเพื่อสังคม

เมื่อประมาณสองอาทิตย์ที่แล้ว ได้ไปประชุมการให้รางวัลนวัตกรรมเพื่อสังคมแห่งเอเชียแฟซิฟิคที่รัฐบาลไต้หวันเป็นผู้สนับสนุน ในช่วงสามสี่ปีที่ผ่านมาไต้หวันเดินงานเชิงนวัตกรรมเพื่อสังคมและกิจการเพื่อสังคมไปอย่างค่อนข้างเร็ว  ผมยังจำได้ว่าเมื่อสามปีที่แล้วตอนไปประชุมด้วยใหม่ๆทุกอย่างยังเพิ่งเริ่มต้น ที่น่าสนในมีหลายประเด็น เช่น  – มีการจัดกลไกสนับสนุนอย่างเป็นระบบ การให้การยอมรับและการสนับสนุนโดยรัฐ มีกองทุนของเอกชนหลายแห่งมีบทบาทมากขึ้นเรื่อยๆ  บริษัทบางแห่งเช่น KPMG ตั้งหน่วยด้านนี้ที่ไปทำงานกับรัฐเพื่อทั้งปรึกษาและจัดการให้เกิดผล  – ประเด็นกิจการเพื่อสังคมนั้นเขาเน้นเชื่อมโยงกับประเด็นนวัตกรรมเพื่อสังคม ที่มีเป้าหมายชัดเจน เช่น การแก้ปัญหาสังคมสูงอายุ เรื่องการค้าที่เป็นธรรม (fair trade) หรือ การฟื้นฟูเมืองโดยการใช้วัฒนธรรมและสร้างเศรษฐกิจท้องถิ่น กล่าวคือไม่ได้พูดแค่เรื่อง SE แต่พยายามโยงในฐานะเครื่องมือนวัตกรรมที่เอาไปแก้ปัญหาสังคม ซึ่งก็คล้ายกับแนวทางของ NIA ในประเทศไทยที่น่าจะเชื่อมโยงเรียนรู้กับเขาได้    – ที่เด็ดมากๆคือ ส.ส. หัวใหม่จำนวนหนึ่งจากหลายพรรคได้ร่วมกันตั้งเป็นกลุ่มงาน อาจจะคล้ายๆกรรมาธิการ ในประเด็น “นวัตกรรมเพื่อสังคม (social innovation)” อย่างเป็นทางการด้วย เพื่อทำความเข้าใจปัญหา โอกาส และผลักดันนโยบายโดยใช้กลไกสภาผู้แทนมาเป็นจุดคานงัดสำคัญ ส.ส. คนสำคัญที่รับผิดชอบเรื่องนี้คือ Karen Yu ที่อยู่ในรูปคนที่สองด้านล่างจากซ้าย ซึ่งเขาเคยทำงานเรื่อง Fair Trade และนวัตกรรมเพื่อสังคมมายาวนานก่อนจะมาเป็น ส.ส. เขาว่าถ้า ส.ส. […]

Read more "ไต้หวัน: SE -นวัตกรรมเพื่อสังคม"

Constitutional Econ

เดี๋ยวคงมีเรื่องรัฐธรรมนูญ ลองมาดูความคิดเรื่องเศรษฐศาสตร์รัฐธรรมนูญของ อ รังสรรค์ ที่พูดมาเมื่อสิบกว่าปีที่แล้ว และฉบับ 60 ก็ยังไม่สนแบบจับต้องได้ “ดังนั้นถ้าหากว่าเป้าหมายอยู่ที่การทำให้ตลาดการเมืองมีการ แข่งขันมากขึ้น ดีไซน์ของรัฐธรรมนูญต้องเปลี่ยน อีกเป้าหมาย คือ การปฏิรูปการเมืองจะต้องทำให้สังคมการเมืองมีธรรมาภิบาล ประเด็นนี้เป็นประเด็นที่รัฐธรรมนูญฉบับ 2540 และ 2550 ไม่ได้จับเป็นเป้าหมายหลัก ในขณะนี้มีงานวิจัยในวงวิชาเศรษฐศาสตร์เป็นจำนวนมากขึ้นที่ชี้ให้เห็นว่า ความสำเร็จหรือความล้มเหลวของการปฏิรูปการเมืองขึ้นอยู่กับประเด็นเรื่องธรรมาภิบาล เวลาที่เราพูดถึงธรรมาภิบาล มันก็จะมีประเด็นย่อย คือ เรื่องความโปร่งใส เรื่องสารสนเทศในทางการเมือง เรื่องการมีส่วนร่วม และเรื่องความรับผิด” . และก็ยังมีเรื่องเดิมๆที่จะมาเผด็จการกี่ชาติก็แก้ไม่ได้ “ดังนั้นผมคิดว่า เป้าหมายที่ซ่อนเร้นของรัฐธรรมนูญ 2550 ก็คือ การทำให้การเมืองอ่อนแอ อีกประการคือการป้องกันไม่ให้ระบอบทักษิณกลับมา ซึ่งมันก็พิสูจน์ทันทีหลังการเลือกตั้งว่า มันป้องกันไม่ได้ มันล้มเหลว แต่ที่แย่ก็คือทำให้การเมืองอ่อนแอ แล้วการทำให้การเมืองอ่อนแอมันมีผลไม่ใช่แค่เฉพาะสังคมการเมืองไทย แต่มันมีผลต่อสังคมเศรษฐกิจไทยด้วยในระยะยาว” https://prachatai.com/journal/2008/04/16286

Read more "Constitutional Econ"

The tribal tragedy

Justice, rules of law, democracy & liberty are human attempts to transcend our urge to go back to the our instinctive root of biological pecking order and tribal governance. This is why millions of people across the world and ages had rationalized their ways back again and again to fascism, socialism, communism, Islamic revolution and […]

Read more "The tribal tragedy"

RIP Grand Pa Coase

RIP Ronald Coase, (1) his insight into firms’ ‘transaction cost’ might be supremely relevant towards an internet-driven decentralized economic organisations in the 21st century. With increasingly efficient external markets down to the long-tail level, effective firms can be much smaller yet more connected. (2) His analysis on social cost also emphasizes the need of rules […]

Read more "RIP Grand Pa Coase"

ลาก่อนคุณตา coase

ลาก่อนคุณตา Ronald Coase … นักเศรษฐศาสตร์ที่อายุยืนที่สุดคนหนึ่งของโลก หนึ่งร้อยกับสองปี (1) ความเข้าใจเรื่องต้นทุนการปฏิสัมพันธ์ (transaction cost) ของเขาอาจจะสำคัญมากมากกับโลกของการจัดการทางเศรษฐกิจที่ขับเคลื่อนด้วยอินเทอร์เน็ต ยิ่งตลาดภายนอกมีประสิทธิภาพมากขึ้นเรื่อยๆ บริษัทต่างๆที่มีประสิทธิภาพน่าจะขนาดเล็กลงได้มากขึ้นเรื่อยๆและเชื่อมโยงกันมากขึ้น (2) การวิเคราะห์ต้นทุนทางสังคมของเขาเน้นย้ำเรื่องความจำเป็นของกฏหมายในการลดค่าปฏิสัมพันธ์ของสังคมในการหาทางออกจากปัญหาต่างๆ เช่นหากมีกฏหมายสิทธิในสินทรัพย์ที่ดีก็จะลดค่าคดีความและการพิสูจน์สิ่งต่างๆได้มาก ที่น่าสนใจคือเป็นการเน้นที่กฏหมายซึ่งมีเพื่อลดต้นทุนทางสังคม ไม่ใช่การให้รัฐบาลมีนโยบายเฉพาะกิจต่างๆที่อาจสร้างปัญหาและเพิ่มต้นทุนมหาศาลต่างๆ เหมือนที่เห็นๆในสังคมไทยทุกยุคสมัย แต่สำหรับเมืองไทยก็คงต้องดูว่าจะทำให้กฏหมายลดต้นทุนทางสังคมอย่างไร เพราะหลายๆทีออกแนวทำให้ซับซ้อนหนักกว่าเดิม ^_^~~ เรียนรู้เพิ่มเติมเรื่อง Ronald Coase จาก WIKIPEDIA!

Read more "ลาก่อนคุณตา coase"

My 1999 essay

Found my essay written in 1999, an essay to enter Economics programme at Thammasat university. Nostalgia all over again! ——- The reason I’m so keen to study at the Bachelor of Economics International Program, Faculty of Economics, Thammasat University is because of my interest in Economics. Many of my family members are economists. My Great […]

Read more "My 1999 essay"

Thailand’s lost economic vision

สิ่งที่เมืองไทยขาดอย่างรุนแรงคือภาพความหวังร่วมของคนในชาติ เมื่อเราไม่รู้ว่าต้องการให้ประเทศไปที่ไหนและเป็นอย่างไรใน 10 ปี นโยบายและการพัฒนาก็กระจัดกระจายไปคนละทิศและทาง แล้วก็ปล่อยให้การเมืองถ่วงชาติจนลีกวนยูด่าว่าพายวนในอ่างจนอาจจะสู้พม่าในระยะยาวไม่ได้เช่นนี้ ผมยังเชื่อว่าเรากลายเป็นประเทศพัฒนาแล้วได้ใน 10 ปีถ้าเดินแบบมีทิศทางร่วมกัน ผมเชื่อว่าเราน่าจะทัดเทียมกับสิงคโปร์ อิตาลี หรือฟินแลนด์ได้ สามารถสร้างระดับคุณภาพชีวิตได้ไม่น้อยไปกว่าเกาหลีใต้ เราเคยเชื่อกันเช่นนี้เมื่อหลายสิบปีที่แล้ว แต่หลังจากฟองสบู่แตกเมื่อปี ’40 ความหวังและความฝันร่วมก็แตกไปด้วย… เมื่อไม่มีฝันร่วมก็ไม่มีอนาคตร่วมกันอีกต่อไป  หลังวิกฤตเศรษฐกิจเราไม่ได้เกิดวิสัยทัศน์ใหม่ที่ดีและมีปัญญากว่าเดิม เราสูญเสียวิสัยทัศน์ไปเสียสิ้น What Thailand severely lacks is the common vision of the nation, we don’t know where we want to go and what we want to become in 10 years. Thus, all policies and development are fragmented […]

Read more "Thailand’s lost economic vision"

TRRM, Weather index insurance, tree bank and community finance

Last week I’ve attended our Thai Rural Reconstruction Movement Foundation (TRRM) board meeting (which ChangeFusion is under). We’ve many passionate senior-level board members from M.R. Pridiyathorn, K. Ennu, Archarn Patamawadee, Archarn Nipon and many more. Among various issues discussed, there might be now a clear possible solution for TRRM’s position in Thai sustainable development. Key […]

Read more "TRRM, Weather index insurance, tree bank and community finance"

Social Media for Change; A strategy (in Thai)

I was invited by Dr. Pravej’s reform forum to propose how internet and social media can contribute to the national reform afford, especially in providing collaborative platform between Civil Society, Netizens and the Government. After some data on internet/social media usages in Thailand and how social media is reducing transaction for collective action significantly. My […]

Read more "Social Media for Change; A strategy (in Thai)"

เหลียวมองนักการเงินสวิสฯ บทเรียนการลงทุนเพื่อสังคมและโลก

นักการเงินกับการพัฒนาสังคมเป็นเรื่องที่ดูเหมือนจะห่างไกลกันคนละขั้ว แต่หากเรามองไปยังประเทศสวิสเซอร์แลนด์ซึ่งมีความสัมพันธ์ที่ลึกซึ้งและยาวนานกับประเทศไทย เราอาจจะเริ่มเห็นบทบาทของนักการเงินที่จะเป็นคานงัดสำคัญที่อาจจะพลิกพื้นสังคมให้พ้นไปจากวิกฤตครั้งนี้ได้ ประเทศสวิสฯนอกจากจะมีชื่อเสียงเกี่ยวกับภาคการเงินแล้ว ยังเป็นประเทศที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงใช้ชีวิตในช่วงการเรียนรู้และพัฒนาความคิดของพระองค์ องคมนตรีท่านหนึ่งเคยเล่าว่าที่มาของโครงการสารานุกรมสำหรับเยาวชนนั้น ส่วนหนึ่งก็เป็นเพราะความประทับใจของระบบห้องสมุดและสารานุกรมในประเทศสวิสเซอร์แลนด์จึงดำริว่าเด็กไทยเองก็ควรมีโอกาสเข้าถึงความรู้เช่นนั้นบ้าง นอกจากนั้นแนวคิดเรื่องระบบสหกรณ์ที่พระองค์ทรงนำมาเน้นหนักให้เป็นส่วนสำคัญของการพัฒนาที่ยั่งยืนนั้น ในประเทศสวิสฯระบบสหกรณ์มีความแข็งแรงมาก โดยเฉพาะในภาคการเกษตรหรือแม้ภาคการค้าปลีกเช่นห้างสรรพสินค้านั้นก็ล้วนมีสหกรณ์เป็นธุรกิจที่ใหญ่เป็นอันดับต้นๆ ซึ่งล้วนเป็นธุรกิจที่เต็มไปด้วยศักยภาพพร้อมๆกับความล้ำสมัยทางเทคโนโลยี ด้วยเหตุนี้รายได้มหาศาลที่เกิดจากการพัฒนาภาคเกษตรและการค้าปลีก จึงตกอยู่กับเกษตกรและประชาชนทั่วไปที่เป็นสมาชิกของสหกรณ์ เป็นที่น่าเสียดายที่ภาคสหกรณ์ในประเทศไทยยังไม่สามารถขยายตัวได้ดังพระราชดำริ ปัญหาความเหลื่อมล้ำของการกระจายรายได้ในประเทศไทยส่วนหนึ่งก็เกิดจากความล้มเหลวที่จะใช้ระบบสหกรณ์เป็นเครื่องมือที่นำในการพัฒนาอย่างยั่งยืน จะเห็นได้ว่าประเทศสวิสเซอร์แลนด์อาจมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งต่อการนำแนวคิดสำคัญในการพัฒนาอย่างยั่งยืนเข้ามาสู่ประเทศไทย อย่างไรก็ตามในปัจจุบันยังมีปรากฏการณ์ใหม่ๆของสวิสที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้ได้ โดยเฉพาะบทบาทของภาคตลาดทุนต่อการพัฒนาสังคมสิ่งแวดล้อม สวิสฯเป็นประเทศที่มีภาคการเงินที่เป็นที่ยอมรับทั่วไปว่ามีศักยภาพ มีเสถียรภาพ น่าเชื่อถือ และมีความสำคัญระดับโลก แม้ในช่วงวิกฤตการเงินโลกที่ผ่านมา ประเทศสวิสก็สามารถแก้ปัญหาต่างๆได้อย่างมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว และในภาคการเงินนี้เองก็มีนวัตกรรมการเงินการลงทุนเพื่อสังคมระดับโลกที่น่าเรียนรู้อย่างมากสำหรับนักการเงินและนักลงทุนไทย การเงินการลงทุนเพื่อสังคมในสวิสฯอาจจะแบ่งได้เป็นสองส่วนสำคัญ ส่วนแรกคือสิ่งที่เรียกว่าการลงทุนที่รับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible Investment) ซึ่งเรียกสั้นๆว่า SRI และส่วนที่สองก็คือการลงทุนโดยตรงในกิจการที่สร้างมูลค่าเพิ่มต่อสังคมสิ่งแวดล้อมโดยตรง เช่น การลงทุนในกิจการเพื่อสังคม หรือโครงการด้านสิ่งแวดล้อมที่สร้างรายได้ ส่วนที่สองนี้มักจะเรียกว่า Impact Investment ซึ่งจากการประมาณการณ์ในปี 2009 พบว่าทั้งสองส่วนนี้มีมูลค่ารวมถึงสามหมื่นสี่พันล้านสวิสฟรัง (34 Billion CF) หรือราวหนึ่งแสนล้านบาท ในส่วน SRI นั้นมักจะลงทุนในหุ้น พันธบัตร และสินทรัพย์ต่างๆของบริษัทจดทะเบียนทั่วโลกที่ผ่านเกณฑ์ด้านความรับผิดชอบต่อสังคมสิ่งแวดล้อมหรือที่เรียกว่า CSR (Corporate Social Responsibility) […]

Read more "เหลียวมองนักการเงินสวิสฯ บทเรียนการลงทุนเพื่อสังคมและโลก"

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ไร้ราก

เศรษฐกิจสร้างสรรค์ของไทยจะเป็นได้แค่ฝันหวาน หากไม่สามารถเข้าถึงรากทางวัฒนธรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มสู่ความแตกต่างที่ยั่งยืนได้ เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) กำลังเป็นที่สนใจของประเทศไทยทั้งภาครัฐและเอกชน เห็นได้จากมีนโยบายรัฐ องค์กรต่างๆ นักธุรกิจ และแม้แต่ศิลปินหรือผู้สร้างสรรค์สื่อต่างๆออกมาพูดในประเด็นดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความ รู้ (สบร. – OKMD) มีนโยบายด้านนี้อย่างชัดเจน มีการจัด Creative Economy Forum อีกทั้งองค์กรลูกเช่น TCDC ได้มีการจัดประชุม จัดนิทรรศการที่นำมาจากต่างประเทศและในประเทศมากมายเกี่ยวกับประเด็นนี้ องค์กรมากมายกำลังจัดประกวดงานสร้างสรรค์มากมาย คนไทยกำลังคิดว่าทางออกหนึ่งของประเทศน่าจะเป็นการสร้างฐานเศรษฐกิจอันเกิดจากงานสร้างสรรค์ที่หลากหลาย โดยเฉพาะสื่อต่างๆ และยังขยายวงไปถึงวงการออกแบบที่หลากหลายตั้งแต่แฟชั่นไปจนถึงออกแบบเฟอร์นิเจอร์ ฯลฯ ประเทศเช่นเกาหลี ญี่ปุ่น อิตาลี และฝรั่งเศส กำลังเป็นแนวทางที่หลายๆคนฝันใฝ่ว่าเมืองไทยน่าจะมั่นใจไปในทิศทางนี้ แต่สภาพความเป็นจริงของสถานะเมืองไทยเกี่ยวกับเศรษฐกิจสร้างสรรค์นั้นยังน่าเศร้าอยู่มาก นิยามของเศรษฐกิจสร้างสรรค์นั้นองค์กรระดับโลกจำนวนมากให้ความหมายไปในทิศทางของเศรษฐกิจที่สามารถผลิตสินค้าต่างๆที่เป็นลิขสิทธิ์ทางปัญญา (Intellectual property right) ในวงการต่างๆโดยเฉพาะในส่วนของสื่อ ศิลปะ และการออกแบบ โดยการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์นั้นมักมองความสำเร็จไปที่ความสามารถจะส่งออกความสร้างสรรค์เหล่านี้ไปยังต่อประเทศได้อย่างต่อเนื่องและเป็นระบบ แต่ประเทศไทยนั้นแม้จะมีภาพยนต์และผลงานการออกแบบต่างๆที่เป็นที่ยอมรับในระดับโลก หรือภูมิภาคอยู่บ้างนั้น แต่ก็ยังมีอยู่น้อยมาก จนแทบจะเรียกได้ว่างานต่างๆที่ได้รางวัลหรือขายได้ในระดับโลกนั้นเกิดขึ้นเป็นส่วนน้อยจนน่าใจหาย และยังเป็นผลงานที่มีลักษณะเฉพาะกลุ่มมากๆ เช่น ภาพยนต์เชิงศิลปะเพียงไม่กี่เรื่อง ซึ่งยากต่อการขยายผลไปทั่วโลกเพื่อให้ได้มูลค่าทางเศรษฐกิจที่จะเป็นแรงสำคัญของประเทศได้ ขณะที่ภาพยนต์ส่วนใหญ่ที่ผลิตในประเทศนั้นก็ยังอยู่ในวังวนของการนำคณะตลกต่างๆมาขึ้นจอ สร้างเป็นภาพยนต์ เน้นตลกที่ยากต่อความเข้าใจของคนนอกประเทศ (อาจยกเว้นประเทศลาวซึ่งเข้าใจภาษาและวัฒนธรรมไทยเป็นอย่างดี) […]

Read more "เศรษฐกิจสร้างสรรค์ที่ไร้ราก"

การออม-ลงทุนเพื่อเกษียณ สุดท้ายแพ้เงินเฟ้อ!

เมื่อช่วงสงกรานต์ได้ไปกินข้าวกับญาติๆพร้อมกับคุณตา มีญาติรุ่นพี่คนหนึ่งเป็น Fund Manager อยู่ที่ กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (กบข.) ซึ่งเป็นกองทุนเย็นที่ใหญ่ที่สุดกองหนึ่งในประเทศ เมื่อถามว่าพี่เขาเป็นห่วงเรื่องไหน หรืออยากทำอะไรที่สุดตอนนี้ เขาบอกว่าอยากไปจัดระบบการออม และการลงทุนเพื่อการเกษียณของคนไทยให้ใหม่ ทั้งในด้านการศึกษาและเชิงระบบการลงทุน ปัญหาก็คือโครงสร้างประชากรของไทยกำลังจะเหมือนยุโรปขึ้นเรื่อยๆ คือจากปิระมิดตั้ง ไปเป็นปิระมิดกลับหัว เพราะคนสูงอายุจะเยอะขึ้นเรื่อยๆขณะที่สัดส่วนของคนวัยทำงานจะลดลงเรื่อยๆ หากปล่อยไปอย่างงี้โดยไม่มีการจัดการใดๆ เศรษฐกิจในอนาคตของประเทศย่อมจะถดถอยและมีวิกฤตอย่างแน่นอน เพราะระบบการประกันสังคมและระบบการลงทุนเพื่อการเกษียณยังล้าหลังอยู่มาก ย่อมจะทำให้ระบบเศรษฐกิจมีภาระจนกระทบกับการเจริญเติบโตของประเทศ เพราะ surplus จะต้องถูกนำไปดูแลประชากรสูงอายุ ไม่เช่นนั้นก็จะกลายเป็นปัญหาสังคมอย่างรุนแรง ซึ่งปรากฏการณ์นี้กำลังเกิดขึ้นในยุโรปและญี่ปุ่น ซึ่งแม้จะมีการพัฒนาแก้ปัญหาดังกล่าวอย่างเป็นระบบตลอดมา แต่ก็ยังไม่สามารถจัดการได้อย่างแท้จริง แล้วเมืองไทยจะเหลืออะไร ปัญหาเชิงระบบอีกข้อก็คือการออมหรือการลงทุนเพื่อการเกษียณในปัจจุบัน มักจะมียุทธศาสตร์ในลักษณะที่ ultra conservative คือไม่ยอมให้มีโอกาสเสียเลยแม่แต่ quarter เดียว ได้ดอกเบี้ยหรือปันผลน้อยไม่เป็นไร ซึ่งผลตอบแทนของการบริหารกองทุนในลักษณะนี้ย่อมจะทำได้มากกว่าดอกเบี้ยเงินฝากธนาคารเพียงเล็กน้อย และย่อมไม่สามารถสู้กับเงินเฟ้อได้ เช่น ถ้าคิดง่ายๆ แบบ simplify หน่อย ถ้าได้ผลตอบแทนได้เพียง 5% ในขณะที่เงินเฟ้อ 7% ในปีนั้นๆ ก็ย่อมทำให้สินทรัพย์ที่แท้จริงติดลบ 2 % นั้นเอง ซึ่งหากปล่อยให้เรื้อรังต่อเนื่องไปก็ย่อมทำให้ผู้ออมหรือผู้ลงทุนนั้นแทบจะไม่ได้อะไรเลย แถมยังเสียอีกในระยะยาว […]

Read more "การออม-ลงทุนเพื่อเกษียณ สุดท้ายแพ้เงินเฟ้อ!"

ถอดรหัสสร้างนวัตกรรมสไตล์ Google

นิตยสาร Harvard Business Review ฉบับ April 08 มีบทความที่ชื่อ Reverse Engineering Google’s Innovation Machine ผมก็เลยคิดว่าเอามาสรุปให้เพื่อนๆที่สนใจเรื่องนวัตกรรม และการสร้างธุรกิจแบบใหม่ๆ โดยเฉพาะในหมู่นักประกอบการทางสังคมรุ่นใหม่และ TRN ซึ่งร่วมหัวจมท้ายด้วยอยู่ก็น่าจะมีประโยชน์บ้าง ผู้เขียนบทความนี้คือ Bala lyer และ Thomas H. Daveport ซึ่งพยายามเลือกแนวการจัดการนวัตกรรมสำคัญๆของ google บางส่วนที่ธุรกิจหรือหน่วยงานอื่นๆน่าจะนำไปประยุกต์ได้ ซึ่งก็ประกอบไปด้วย 1. การจัดการด้วยความใจเย็นอย่างมียุทธศาสตร์ (Strategic patience) เป็นการยอมที่จะพัฒนาธุรกิจใหม่ๆโดยไม่ผูกกับผลสำเร็จระยะสั้นมากเกินไป แต่อดทนรออย่างใจเย็นในการสร้างนวัตกรรมที่หลากหลายซึ่งมีความสำคัญเชิงยุทธศาสตร์กับองค์กร ซึ่งจะเกิดผลได้ในระยะกลางหรือยาว  ในกรณีของ google ก็คือการเปิดบริการหรือ product ใหม่ๆตลอดเวลาจาก google labs CEO ของ google ที่ชื่อ Eric Schmidt เองก็เคยกล่าวว่าจะต้องสร้างตลาดของบริการที่มีคนใช้มากๆๆอย่างยั่งยืนก่อน จากนั้นย่อมจะสามารถหาวิธีฉลาดๆในการทำเงินจากบริการนั้นๆได้อย่างแน่นอน แต่เราก็ต้องระลึกว่าที่ google สามารถอดทนรอได้ในลักษณะนี้ ก็ย่อมเป็นเพราะรายได้มหาศาลจากการลงโฆษณานั้นมีมากพอที่จะทดแทนรายจ่ายที่เสียไปกับการพัฒนาบริการใหม่ๆนี้ […]

Read more "ถอดรหัสสร้างนวัตกรรมสไตล์ Google"

การพัฒนากิจการเกมส์เพื่อสังคมไทย

วันนี้ได้คุยในวงกระทรวงวัฒนธรรมเกี่ยวกับเรื่องการประเมินสถานการณ์เกมส์คอมพิวเตอร์ในสังคมไทย  ก็เลยได้มีโอกาสคิดว่าปีนี้ TRN กับ สสส. และภาคีจะช่วยกันหนุนเสริมเรื่องเกมส์ดีๆอย่างไร ประเด็น: ต้องการพัฒนาให้เกิดขึ้นจริงๆก็คือการพัฒนาองค์กรคนรุ่นใหม่ที่ผลิตเกมส์เพื่อสังคมได้อย่างยั่งยืน  โดยการสร้างเครือข่ายตลาดเกมส์เพื่อสังคมสิ่งแวดล้อม คล้ายๆกลุ่ม serious game developers ในต่างประเทศที่พัฒนาเกมส์เช่น foodforce ที่ให้ผู้เล่นสามารถสวมบทบาทในการปฏิภารกิจต่างๆ เช่นการใช้เฮลิคอปเตอร์ไปส่งอาหารให้คนยากจนในพื้นที่เสี่ยงต่างๆของ World Food Programme และ PeaceMaker ซึ่งให้ผู้เล่นมีโอกาสที่จะพยายามแก้ปัญหาระหว่างอิสราเอลและปาเลสไตน์ ความท้าทาย: 1. เมืองไทยมีการส่งเสริม การประกวด เกมส์ต่างๆมากมาย แต่ยังขาดการต่อยอด โดยเฉพาะในกลุ่มที่ชนะการประกวดต่างๆ สุดท้ายก็ไม่สามารถทำอะไรต่อได้ ต้องเข้าไปในบริษัทใหญ่ๆเช่นเดิม ไม่สามารถพัฒนาเกมส์ตามความสนใจได้ 2. การบริโภคเกมส์ของตลาดก็จะเป็นการเน้นเกมส์ต่างประเทศ เช่น เกาหลี และจีน  เกมส์ที่ผลิตเองก็มีปัญหาต่างๆ เช่น เกมส์กล่องก็จะเจอปัญหาการละเมิดลิขสิทธิ์ (piracy) เกมส์ออนไลน์ก็ยังไม่ค่อยมีตัวอย่างมากนัก โอกาส: การปรับโมเดลทางธุรกิจของผู้ผลิตเกมส์เพื่อสังคม เพื่อให้สอดคล้องและใช้โอกาสพิเศษด้านสังคมที่ผู้ผลิตเกมส์ปกติไม่มี  โดยสำหรับการพัฒนากิจการเพื่อสังคม (social enterprise) 1. การหาผู้สนใจสนับสนุนการสร้างเกมส์ประเด็นสังคมในลักษณะ wholesale sponsor ซึ่งน่าจะสามารถสร้างตลาดหรือพืิ้นที่เชื่อมโยงผู้สนใจสนับสนุนและผู้ผลิตได้ โดยจะต้องทำในลักษณะที่ […]

Read more "การพัฒนากิจการเกมส์เพื่อสังคมไทย"

ไปหนุนกิจการเพื่อสังคมในอาฟริกา และบทเรียนเรื่องสถาบันฯจาก Ethiopia

เพื่อช่วงอาทิตย์ที่แล้ว (3-5 มี.ค. 08) ผมได้รับเชิญจาก UN Economic Commission for Africa (UNECA) ให้ไปช่วยเป็น Speaker ในชุดงาน Sciences for Africa ที่เมือง Addis Ababa ประเทศ Ethiopia และให้ไปช่วยพัฒนาแผนการสร้างเสริมผู้ประกอบการเพื่อสังคมในหมู่คนรุ่นใหม่ (Young social entrepreneurs) ของ UNECA ที่ต้องการขยายบทเรียนที่เพื่อนๆและผมช่วยกันทำเรื่องกองทุนสนับสนุนผู้ประกอบการทางสังคม (Youth Social Enterprise Initiative -YSEI) ซึ่งกำลังเนินการอยู่ในเอเชียเป็นปีที่สอง   ซึ่ง UNECA เห็นว่าน่าจะใช้แนวทางเดียวกันใน Africa ได้ โดยเฉพาะในการประกอบการที่เกี่ยวกับประเด็น ICT, Climate change และ วิทยาศาสตร์  โดยให้พวกผมไปช่วยเป็นที่ปรึกษาให้ ความสนใจที่มีมากมาย และโอกาสของเยาวชนในอาฟริกาซึ่งเป็นกลุ่มอายุที่มีจำนวนมากที่สุด ผมนำเสนอให้ตัวแทนของ UN นักวิทยาศาสตร์ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจ กว่าร้อยคนที่สนใจหัวข้อ […]

Read more "ไปหนุนกิจการเพื่อสังคมในอาฟริกา และบทเรียนเรื่องสถาบันฯจาก Ethiopia"

รสนาต่อต้านการผูกขาด เป็นพันธมิตรของเศรษฐกิจเสรี!

เมื่อวานนี้ได้ไปตอบคำถามใน Yahoo! รู้รอบเกี่ยวกับคุณรสนา  ผู้สมัคร สว. ปัจจุบัน  มีคนถามว่าเขาเป็นใคร ซักพักก็มีพวก liberal วิชาการแต่รู้ครึ่งๆกลางๆแต่กร่างมากมาตอบทำนองว่า พี่รสนาเป็น NGO ไม่มีหลักการ ต้านอย่างเดียว ขวางทางพัฒนาเศรษฐกิจ เรียกว่าพี่เขาเป็นพวกหลักเลน แค่ที่พี่เขาต้านการแปรรูป กฟผ. ที่มีเงื่อนไขไม่ได้เข้ากับแนวทางเศรษฐกิจเสรีนิยมด้วยซ้ำ  ผมเลยเซ็งมากว่าคนที่กล้าเอาความจริงมาชนทำลายพวกโกงกิน จนศาลปกครองตัดสินออกมาว่าเป็น deal ที่ผิด แต่มีแต่พวกพูดมากไร้สมองมาเถียง ผมก็เลยหาข้อมูลมาแปะไว้ อาจจะไม่สมบูรณ์แต่ก็น่าจะชัดเจนว่าจริงๆแล้วเธอเป็นผู้ที่มีหลักการจริงๆ ไม่ใช่หลักเลน ก็เลยเอามาแปะไว้ด้านล่าง เพื่อใครสนใจครับ แต่นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า 1. การขัดขวางการแปรรูปรัฐวิสาหกิจที่ผิดกระบวนการ ไม่โปร่งใส และมีปัญหา เป็นการแปรรูปการผูกขาดโดยรัฐมาเป็นการผูกขาดโดยเอกชนไม่กี่รายนั้นไม่ได้เป็นการต่อต้านเศรษฐกิจเสรีเสมอไป แต่เป็นการปกป้องระบบเศรษฐกิจเสรีให้สามารถเติบโตอย่างยั่งยืนได้   คือต้องดูว่าเงื่อนไขต่างๆนั้นเหมาะสมตามที่ควรจะเป็นในทางทฤษฏีหรือไม่ ไม่ใช่เหมารวมกันไปหมด 2. รู้อะไรก็ควรจะมีข้อมูลมาคุยแลกเปลี่ยนกัน   ไม่ใช่ด่าชาวบ้านเขาว่าโง่ไปหมด ทั้งๆที่ตัวเองรู้แต่ทฤษฎีไม่ได้ดูเงื่อนไขรายละเอียดของสถานการณ์จริง อ่านรายละเอียดได้ด้านล่างครับ จาก th.answers.yahoo.com MadCat   รสนา โตสิตระกูล คือใคร? ใกล้ เลือก สว. แล้ว […]

Read more "รสนาต่อต้านการผูกขาด เป็นพันธมิตรของเศรษฐกิจเสรี!"